logo

เมื่อโลกพลิกผัน การปฏิวัติอุตสาหกรรม จุดกำเนิดการเมืองและเศรษฐกิจยุคปัจจุบัน

คาร์ล โปลานยี เขียน
ภัควดี วีระภาสพงษ์ แปล


หัวใจสำคัญของงานชิ้นนี้คือข้อเสนอที่ว่ามนุษย์เศรษฐกิจ (homo economicus) ที่เป็นปัจเจกชนที่ “สมเหตุสมผล” คำนวณต้นทุน-ผลได้เพื่อตัดสินใจทางเศรษฐกิจโดยมีเป้าหมายเพื่อ “แสวงหาประโยชน์ส่วนตน” ที่เป็นอรรถประโยชน์สูงสุดนั้น ไม่ได้ดำรงอยู่มาแต่ไหนแต่ไรหากแต่เป็นผลิตผลของ “การเปลี่ยนแปลงครั้งยิ่งใหญ่ในศตวรรษที่ 19” ซึ่งก็คือ การเกิดขึ้นของ “สังคมตลาด” (market society) อันประกอบด้วยกระบวนการก่อรูปของรัฐสมัยใหม่ ควบคู่ไปกับการเปลี่ยนโครงสร้างสังคมเป็นระบบเศรษฐกิจแบบตลาด
 
- พิชิต ลิขิตกิจสมบูรณ์
 
สารบัญ
 
บทที่ 1 สันติภาพหนึ่งร้อยปี
บทที่ 2 1920 ทศวรรษอนุรักษนิยม 1930 ทศวรรษปฏิวัติ
บทที่ 3 “การมีที่ซุกหัวนอนปะทะความก้าวหน้า”
บทที่ 4 สังคมและระบบเศรษฐกิจ
บทที่ 5 วิวัฒนาการของแบบแผนตลาด
บทที่ 6 ตลาดที่กำกับดูแลตัวเองกับสินค้าอุปโลกน์ : แรงงาน ที่ดิน และเงิน
บทที่ 7 สปีนแฮมแลนด์ 1795
บทที่ 8 เหตุที่เกิดก่อนและผลที่ตามมา
บทที่ 9 ลัทธิยาจกกับยูโทเปีย
บทที่ 10 เศรษฐกิจการเมืองและการค้นพบ “สังคม”
บทที่ 11 มนุษย์ ธรรมชาติ และระบบการผลิต
บทที่ 12 กำเนิดลัทธิเสรีนิยม
บทที่ 13 กำเนิดลัทธิเสรีนิยม (ต่อ) : ผลประโยชน์ของชนชั้น
บทที่ 14 ตลาดกับมนุษย์
บทที่ 15 ตลาดกับธรรมชาติ
บทที่ 16 ตลาดกับหน่วยการผลิต
บทที่ 17 การกำกับดูแลตัวเองบกพร่อง
บทที่ 18 แรงตึงเครียดที่ขาดผึง
บทที่ 19 รัฐบาลประชาชนกับระบบเศรษฐกิจตลาด
บทที่ 20 ประวัติศาสตร์ในฟันเฟืองของความเปลี่ยนแปลงทางสังคม
บทที่ 21 เสรีภาพในสังคมซับซ้อน
 
 
เมื่อโลกพลิกผัน การปฏิวัติอุตสาหกรรม จุดกำเนิดการเมืองและเศรษฐกิจยุคปัจจุบัน
คาร์ล โปลานยี เขียน
ภัควดี วีระภาสพงษ์ แปล
สำนักพิมพ์ ฟ้าเดียวกัน จัดพิมพ์
จำนวน 457 หน้า
ราคา 500 บาท
พิมพ์ครั้งที่ 1 : 2559
ISBN : 978-616-7667-44-7

copyright 2014 CANDIDEBOOK by